แชร์

โพรไบโอติกเกี่ยวอย่างไรกับโรคซึมเศร้า

อัพเดทล่าสุด: 9 ธ.ค. 2024
255 ผู้เข้าชม

อาการของโรคซึมเศร้า 

อาการและการแสดงออกที่พบบ่อยของภาวะซึมเศร้าในเด็กและวัยรุ่นจะคล้ายคลึงกับอาการของผู้ใหญ่

ในเด็กเล็ก อาการของภาวะซึมเศร้าอาจรวมถึงความเศร้า หงุดหงิด ยึดเกาะ กังวล ปวดเมื่อย ไม่อยากไปโรงเรียน และมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์  ในวัยรุ่น อาการต่างๆ อาจรวมถึงความเศร้า ประสิทธิภาพของการเรียนแย่ลง  โกรธง่าย หงุดหงิด กินหรือนอนมากเกิดไป สูญเสียความสนใจตัวเอง ในกิจกรรมปกติ และหลีกเลี่ยงการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 

วิธีการตรวจสอบว่าเราเองหรือคนใหญ่ชิดเป็นโรคซึงเศร้าหรือไหม   
-มีอารมณ์ซึมเศร้า  
-อารมณ์ต่ำหรือเศร้าอย่างต่อเนื่อง 
-รู้สึกสิ้นหวังและทำอะไรไม่ถูก 
-มีความนับถือตนเองต่ำ 
-รู้สึกน้ำตาไหล 
-รู้สึกผิด 
-รู้สึกหงุดหงิดและไม่ยอมรับผู้อื่น 
-ไม่มีแรงจูงใจหรือความสนใจในสิ่งต่างๆ 
-ยากในการตัดสินใจ 
-รู้สึกไม่เพลิดเพลินจากชีวิต 
-รู้สึกวิตกกังวล 
-มีความคิดฆ่าตัวตายหรือคิดทำร้ายตัวเอง 

วิธีการรักษาและป้องกันจากโรคซึมเศร้า 
      พูดคุยให้คำปรึกษา  เป็นวีธีการรักษาเบื้องต้นที่คนรอบข้าวผู้ป่วยสามารถทำได้ ค่อยอยู่ข้างๆ เป็นกำลังใจ ซึ่งจะช่วยเสริมกำลังให้มีมากขึ้นและลดการรู้สึกท้อแท้ หมดกำลังใจลงได้ 
การทำจิตบำบัด เป็นการบำบัดโดยนักจิตวิทยา ซึ่งเป็นการรักษาโดยใช้ธรรมขาติ ดังนั้นเป็นการหลีกเลี้ยงการใช้ยาโดยไม่จำเป็น การทำจิตบำบัดเป็นการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ ซึ่งการบำบับมีหลายรูปแบบ เช่น ดนตรีบำบัด  ศิลปะบำบัด  

     การใช้ยา การใช้ยาเป็นการรักษาเพื่อกระตุ้นการสร้างสื่อประสาท Serotoninให้มีปริมาณที่สูงขึ้น ได้แก่ ยากลุ่ม Tricyclics, Tetracyclics, Tetracyclics, NDRI, SSRI, SNRI เป็นต้น เนื่องจากการทานยาจะมีผลเคียงตามมาหลายอาการ เช่น ปากแห้ง คอแห้ง ง่วงนอน มึนหัว ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น สาเหตุเกิดจากการให้ยากลุ่มดังกล่าวจะกระตุนให้มีการสร้าง Serotonin ให้สูงขึ้นทำให้เกิดอาการ Serotonergic Effect กล้ามเนื้อกระตุก 

การรับประทานผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกที่ช่วยลดโรคซึมเศร้า 
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโพรไบโอติก BioCraft ช่วยลดระดับสารก่อการอักเสบ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ลดการทำงานของสารสื่อประสาท โดยเฉพาะสารสื่อประสาทชนิด Serotonin เป็นสารสื่อประสาทที่ควบคุมการทำงานของอารมณ์ ความเครียด ความอยากอาหาร และการนอนหลับ ช่วยลดระดับความเครียดและเพิ่มความจำได้ดียิ่งขึ้น ที่สำคัญผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโพรไบโอติกไม่มีผลข้างเคียงใดๆ 

อ้างอิง 
Zhang Q, Chen B, Zhang J. Dong J, Ma J, Zhang Y, Jin, KLu J. Effect of prebiotics, probiotics, synbiotics on depression: results from a meta-analysis.BMC Psychiatry, 2023,23:477.  
Wallace CJK, Milev R. The effects of probiotics on depressive symptoms in humans: a systematic review. Ann Gen Psychiatry. 2017, 16:14. 


บทความที่เกี่ยวข้อง
ธนาคารจุลินทรีย์ (Microbe Bank)
บนโลกนี้มีสิ่งมีชีวิตหลากหลายสายพันธุ์นับหมื่นนับแสน โดยเฉพาะจุลินทรีย์ที่มีจำนวนมากมายมหาศาล แต่ปัจจุบันเราสามารถศึกษาได้เพียง 1% ของจุลินทรีย์ทั้งหมดบนโลก ดังนั้นคำถามสำคัญคือ “เราจะทำอะไรกับจุลินทรีย์ที่เรามีอยู่ในมือได้บ้าง?” เพื่อหาคำตอบนี้ จึงได้เกิดแนวคิด ธนาคารจุลินทรีย์ (Microbe Bank) ขึ้นมา ธนาคารจุลินทรีย์เปรียบเสมือนคลังเก็บข้อมูล และตัวอย่างจุลินทรีย์ที่รวบรวมไว้เพื่อการอนุรักษ์ วิจัย และพัฒนา นอกจากนี้ยังช่วยสนับสนุนการใช้จุลินทรีย์ในด้านต่าง ๆ เช่น การแพทย์ เกษตรกรรม และสิ่งแวดล้อม โดยในประเทศไทยมี ธนาคารจุลินทรีย์แห่งชาติ (NBT - National Biobank of Thailand) ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อเก็บรักษาจุลินทรีย์ให้คงอยู่ในระยะยาวและสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจจุลินทรีย์ การจัดการธนาคารจุลินทรีย์จำเป็นต้องทำอย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล เช่น ได้รับการรับรอง ISO9001 ซึ่งเน้นคุณภาพของตัวอย่างจุลินทรีย์ และ ISO20387 ที่เป็นมาตรฐานการจัดการทรัพยากรชีวภาพ
6 ก.พ. 2025
สร้างสมดุล ห่วงโซ่อาหาร ที่ดี ผ่านดินดี น้ำดี อากาศดี ชีวิตจะดีอย่างยั่งยืน
สร้างสมดุล ห่วงโซ่อาหาร ที่ดี ผ่านดินดี น้ำดี อากาศดี ชีวิตจะดีอย่างยั่งยืน สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ล้วนอยู่ใต้กฎธรรมชาติและ เป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อาหารในฐานะผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย ซึ่งคือจุลินทรีย์ แน่นอนว่าหากห่วงโซ่อาหารมีความสมดุล ความเป็นไป ของสิ่งมีชีวิตก็จะดํารงอยู่อย่างราบรื่น แต่ทุกวันนี้จาก สภาพสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ห่วงโซ่อาหารของโลกใบนี้เสียสมดุล น.สพ.สุวรรณ ยิ้มเจริญ หรือ คุณหมอเจี๊ยบ ประธาน คลัสเตอร์กุ้งกุลาดําภาคตะวันออก ผู้ทรงคุณวุฒิสัตว์เศรษฐกิจ สวก. และกรรมการบริหาร บริษัทสยาม อะกริ ซัพพลาย จํากัด หรือ SAS จะมาคลี่ปมการเสียสมดุลของห่วงโซ่ อาหารและปลดล็อกปัญหานี้กันอย่างกระจ่างชัด
17 ม.ค. 2025
รู้จักโรคทางดิน เข้าใจเพื่อป้องกันและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 
โรคที่แพร่ระบาดในดิน หรือ Soil-borne disease เป็นหนึ่งในภัยเงียบที่สร้างความเสียหายให้กับผลผลิตทางการเกษตรอย่างมหาศาล โรคเหล่านี้มีสาเหตุมาจากเชื้อราและแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในดิน ซึ่งสามารถทำลายพืชตั้งแต่ระยะต้นกล้าจนถึงระยะเจริญเติบโตเต็มที่
17 ม.ค. 2025
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy