แชร์

เลี้ยงโคอย่างไร? เมื่อโลกร้อนขึ้น

อัพเดทล่าสุด: 19 มี.ค. 2025
664 ผู้เข้าชม

เลี้ยงโคอย่างไร? เมื่อโลกร้อนขึ้น
ภาวะโลกร้อน หรือความร้อนที่มาจากสิ่งแวดล้อม ทำให้โคมีอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น และเกิดความเครียดเนื่องจากความร้อน (Heat Stress)


อาการความเครียด จากความร้อน
 อ้าปาก น้ำลายไหลค่อนข้างมาก หอบมากกว่าปกติ
 กินอาหารน้อยลง
 เติบโตช้า ให้น้ำนมลดลง ไขมันในน้ำนมลดลง
 ลดจำนวนการเกิด เพศผู้อสุจิใน น้ำเชื้อลดลง และเพศเมียมีการ
ฝังตัวของตัวอ่อนลดลง


การแก้ปัญหา
 สร้างร่มเงาในพื้นที่
 ใช้พัดลมเป่า ใช้สเปรย์ฉีดน้ำ
 ให้อาหารที่ใหม่สะอาด
 ทำความสะอาดรางอาหาร เพื่อป้องกันอาหารเน่าเสียตกค้าง
 เพิ่มความถี่การให้อาหารขึ้น
 ให้น้ำสะอาด อุณหภูมิไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส



#ภาวะโลกร้อน #heatstress #วัว #วัวป่วย #การดูแลวัว #โคกระบือ #ผลผลิตจากวัว #สุขภาพวัว #ความเครียดของวัว #วัวเครียด


บทความที่เกี่ยวข้อง
โพรไบโอติก พรีไบโอติก และซินไบโอติก คืออะไร?
โพรไบโอติก (Probiotics) โพรไบโอติกคือจุลินทรีย์ที่มีชีวิตที่ดีต่อสุขภาพ หรือที่เรียกง่ายๆ ว่า "แบคทีเรียดี" ที่อาศัยอยู่ในลำไส้ของเรา เมื่อรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม จะช่วยเสริมสร้างสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้และส่งผลดีต่อสุขภาพ
23 เม.ย. 2025
โพรไบโอติกเกี่ยวอย่างไรกับโรคซึมเศร้า
ในปัจจุบันโรคทางจิตเวชอยู่ใกล้ตัวเรามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคซึมเศร้า จากข้อมูลของกรมสุขภาพจิตพบว่า ในเด็กอายุ 15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามากกว่า 1.5 ล้านคน ซึ่งโรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เกิดจากสมองมีการทำงานผิดปติของของสารสื่อประสาท (neurotransmitter) ได้แก่ ซีโรโทนิน (serotonin) และนอร์เอพิเนฟริน (norepinephrine) ที่มีปริมาณลดต่ำลง ทำให้การส่งสัญญาณของเซลล์ประสาทเกิดความผิดปกติ และอาจมีปัจจัยอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น อารมณ์ ความรู้สึก ความคิดและมุมมองต่อสิ่งต่าง ๆ สามารถแบ่งโรคซึมเศร้าเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม 1.โรคซึมเศร้าแบบขั้วเดียว คือ ผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้าอย่างเดียว 2.โรคซึมเศร้าแบบสองขั้ว หรือที่เรียกว่าไบโพลาร์ ผู้ป่วยมีอาการอารมณ์ขึ้นลงมากกว่าคนทั่วไป
9 ธ.ค. 2024
สมดุลจุลินทรีย์สร้างสุขภาพที่ดีของโค
โคเป็นสัตว์ใหญ่ที่มีระบบการย่อยอาหารที่ซับซ้อน เนื่องจากมีกระเพาะถึง 4 กระเพาะ ได้แก่ รูเมนหรือกระเพาะผ้าขี้ริ้ว (rumen), เรติคิวลัมหรือกระเพาะรังผึ้ง (reticulum), โอมาซัมหรือกระเพาะสามสิบกลีบ (omasum) และกระเพาะจริงหรืออะโบมาซัม (abomasum) แต่ละกระเพาะจะมีหน้าที่ที่แตกต่างกันออกไป ในทุกกระเพาะจะมีจุลินทรีย์ประจำถิ่นที่ต่างกันอีกด้วย
19 มี.ค. 2025
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy