แชร์

HPV ภัยเงียบที่ผู้หญิงต้องรู้

อัพเดทล่าสุด: 17 ส.ค. 2024
392 ผู้เข้าชม

HPV ภัยเงียบที่ผู้หญิงต้องรู้


HPV เป็นกลุ่มของไวรัสชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อบริเวณอวัยวะเพศและทวารหนักทั้งเพศชายและเพศหญิง และเป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกสูงสุดถึง 90%


ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ติดเชื้อไวรัส HPV

 มีคู่นอนหลายคน
 มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
 มีประวัติเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
 ตั้งครรภ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
 มีบุตรเป็นจำนวนมาก
 ไม่สวมถุงยางอนามัย
 สูบบุหรี่เป็นประจำ

อาการของ HPV มีอะไรบ้าง?
 หูดหงอนไก่
 ตกขาวผิดปกติ
 ต่อมน้ำเหลืองผิดปกติ
 องคชาตผิดปกติ


วิธีป้องกัน HPV ลดพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงการแพร่เชื้อ HPV
 แนะนำให้ฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อ HPV
 สวมถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์
 ไม่เปลี่ยนคู่นอนบ่อย
 ไม่ควรแกะหรือเกาหูดเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น
 สวมรองเท้าเมื่ออยู่ในสถานที่ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
 เสริมด้วยอาหารเสริม เช่น วิตามิน สารต้านการอักเสบ และผลิตภัณฑ์โพรไบโอติก


สั่งซื้อที่ https://s.lazada.co.th/s.LbMaQ
สั่งซื้อที่ https://s.shopee.co.th/5fUQ7lXV08


#bioCAPPLUS #bioCAPPLUSseabuckthorn #SAS #bioCRAFT #probiotic #โพรไบโอติก #ปรับสมดุลลำไส้ #โพรไบโอติก #ตกขาว #ตกขาวมีกลิ่น #กลิ่นน้องสาว


บทความที่เกี่ยวข้อง
ธนาคารจุลินทรีย์ (Microbe Bank)
บนโลกนี้มีสิ่งมีชีวิตหลากหลายสายพันธุ์นับหมื่นนับแสน โดยเฉพาะจุลินทรีย์ที่มีจำนวนมากมายมหาศาล แต่ปัจจุบันเราสามารถศึกษาได้เพียง 1% ของจุลินทรีย์ทั้งหมดบนโลก ดังนั้นคำถามสำคัญคือ “เราจะทำอะไรกับจุลินทรีย์ที่เรามีอยู่ในมือได้บ้าง?” เพื่อหาคำตอบนี้ จึงได้เกิดแนวคิด ธนาคารจุลินทรีย์ (Microbe Bank) ขึ้นมา ธนาคารจุลินทรีย์เปรียบเสมือนคลังเก็บข้อมูล และตัวอย่างจุลินทรีย์ที่รวบรวมไว้เพื่อการอนุรักษ์ วิจัย และพัฒนา นอกจากนี้ยังช่วยสนับสนุนการใช้จุลินทรีย์ในด้านต่าง ๆ เช่น การแพทย์ เกษตรกรรม และสิ่งแวดล้อม โดยในประเทศไทยมี ธนาคารจุลินทรีย์แห่งชาติ (NBT - National Biobank of Thailand) ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อเก็บรักษาจุลินทรีย์ให้คงอยู่ในระยะยาวและสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจจุลินทรีย์ การจัดการธนาคารจุลินทรีย์จำเป็นต้องทำอย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล เช่น ได้รับการรับรอง ISO9001 ซึ่งเน้นคุณภาพของตัวอย่างจุลินทรีย์ และ ISO20387 ที่เป็นมาตรฐานการจัดการทรัพยากรชีวภาพ
6 ก.พ. 2025
สร้างสมดุล ห่วงโซ่อาหาร ที่ดี ผ่านดินดี น้ำดี อากาศดี ชีวิตจะดีอย่างยั่งยืน
สร้างสมดุล ห่วงโซ่อาหาร ที่ดี ผ่านดินดี น้ำดี อากาศดี ชีวิตจะดีอย่างยั่งยืน สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ล้วนอยู่ใต้กฎธรรมชาติและ เป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อาหารในฐานะผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย ซึ่งคือจุลินทรีย์ แน่นอนว่าหากห่วงโซ่อาหารมีความสมดุล ความเป็นไป ของสิ่งมีชีวิตก็จะดํารงอยู่อย่างราบรื่น แต่ทุกวันนี้จาก สภาพสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ห่วงโซ่อาหารของโลกใบนี้เสียสมดุล น.สพ.สุวรรณ ยิ้มเจริญ หรือ คุณหมอเจี๊ยบ ประธาน คลัสเตอร์กุ้งกุลาดําภาคตะวันออก ผู้ทรงคุณวุฒิสัตว์เศรษฐกิจ สวก. และกรรมการบริหาร บริษัทสยาม อะกริ ซัพพลาย จํากัด หรือ SAS จะมาคลี่ปมการเสียสมดุลของห่วงโซ่ อาหารและปลดล็อกปัญหานี้กันอย่างกระจ่างชัด
17 ม.ค. 2025
รู้จักโรคทางดิน เข้าใจเพื่อป้องกันและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 
โรคที่แพร่ระบาดในดิน หรือ Soil-borne disease เป็นหนึ่งในภัยเงียบที่สร้างความเสียหายให้กับผลผลิตทางการเกษตรอย่างมหาศาล โรคเหล่านี้มีสาเหตุมาจากเชื้อราและแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในดิน ซึ่งสามารถทำลายพืชตั้งแต่ระยะต้นกล้าจนถึงระยะเจริญเติบโตเต็มที่
17 ม.ค. 2025
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy